สมัครเล่นบาคาร่าออนไลน์ สมัครสมาชิกบาคาร่าออนไลน์มีทีมงานดูแลตลอด 24 ชม.

สมัครเล่นบาคาร่าออนไลน์ สมัครสมาชิก ทีมงานดูแลตลอด 24 ชม

ข่าวเศรษฐศาสตร์แนะนำ

เศรษฐศาสตร์แนวเพื่อระบบนิเวศ | วิทยากร เชียงกูล

ปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 และปัญหามลภาวะในทุกด้าน ต้องเข้าใจเรื่อง “เศรษฐศาสตร์แนวเพื่อระบบนิเวศ” ที่ต่างไปจากเศรษฐศาสตร์แบบดั้งเดิมมาก จึงจะแก้ปัญหาได้ทั้งระบบอย่างแท้จริง

เศรษฐศาสตร์แนวใหม่นี้มองว่า ระบบเศรษฐกิจเป็นเพียงระบบย่อยของระบบนิเวศโลก ซึ่งรวมทั้งป่า พื้นดิน แหล่งน้ำ ชั้นบรรยากาศรอบโลก ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีพอยู่ได้

ระบบนิเวศโลกนั้นมีฐานทรัพยากรที่มีขีดจำกัด คือถูกใช้หมดไปได้ หรือบางอย่างเช่น ปลาในทะเล ระบบธรรมชาติผลิตทดแทนใหม่ได้ในระดับหนึ่ง แต่มนุษย์เราจะต้องรู้จักใช้อย่างเหมาะสม

ข่าวเศรษฐศาสตร์แนะนำ

คือไม่มากเกินไป ไม่เร็วเกินไปกว่าอัตราผลิตทดแทนขึ้นใหม่โดยธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาตินั้นเป็นทุนประเภทหนึ่ง ที่เป็นของมนุษย์ทุกคนร่วมกัน

ระบบเศรษฐกิจต้องอาศัยทุนทางธรรมชาติ – ป่าไม้ มหาสมุทร แหล่งน้ำ ปลา พืชพันธุ์ที่เป็นอาหาร ยา วัตถุดิบ แร่ธาตุ พลังงานจากฟอสซิล (ซากดึกดำบรรพ์) ซึ่งมีมูลค่ามหาศาลที่สูงกว่าทุนที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น โรงงาน เครื่องมือเครื่องใช้ถนนหนทาง เขื่อน ฯลฯ มากมายหลายเท่า

ทุนทางธรรมชาตินั้นส่วนใหญ่มีจำนวนที่แน่นอนแบบจำกัดหลายอย่าง เช่น แร่ธาตุ น้ำมัน ถ้าเราใช้หมดทั่วทั้งโลกแล้วจะหมดไปจากโลกนี้เลย ไม่สามารถฟื้นฟูนำกลับมาใช้ใหม่ได้

บางอย่างเช่น ป่าไม้ แหล่งน้ำ ปลา สิ่งมีชีวิต ฯลฯ จะฟื้นฟูนำกลับมาใช้ใหม่ได้เฉพาะในกรณีที่มนุษย์รู้จักใช้ในปริมาณที่เหมาะสมสอดคล้องกับวงจรชีวิตของธรรมชาติ

แต่ถ้ามนุษย์ใช้บางอย่างมากเกินไป (และรวดเร็วเกินไป) จนทำให้ระบบธรรมชาติผลิตทดแทนหรือฟื้นฟูใหม่ได้ไม่ทัน จะส่งผลเสียหายร้ายแรงถึงขั้นทำลายสิ่งมีชีวิตบางชนิดพันธุ์ให้สูญไปเลยได้

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นมีทั้งต้นทุน (ค่าใช้จ่าย) ทั้งทางธรรมชาติและต้นทุนทางสังคม เมื่อเศรษฐกิจเติบโต ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายรวมจะยิ่งสูงขึ้น จนผลตอบแทนรวมที่คนทั้งสังคมได้รับกลับลดน้อยลง

เศรษฐกิจทุนนิยมอุตสาหกรรมที่เน้นเป้าหมายผลผลิต/กำไรสูงสุดของเอกชนนั้น เป็นตัวการทำลายธรรมชาติสภาพแวดล้อม และสร้างความไม่สมดุลในระบบเศรษฐกิจสังคมในอัตราสูงมาก

ถ้าคำนวณต้นทุน 2 ประเภทนี้ด้วยให้ครอบคลุมตามความเป็นจริง กำไรสูงสุดของธุรกิจเอกชนที่คิดแต่ต้นทุนที่ตนได้ลงไปนั้นกลับไม่คุ้มต้นทุนทางธรรมชาติและต้นทุนทางสังคมของคนทั้งประเทศ/โลก

การพัฒนาเศรษฐกิจที่ดีควรมีเป้าหมายเพื่อความอยู่ดีกินดี/คุณภาพชีวิต ของคนทั้งหมดต้องแบ่งปันกันอย่างเป็นธรรมแบบพอเพียงเป็นขั้นต่ำ และรักษา/ฟื้นฟูระบบนิเวศธรรมชาติสภาพแวดล้อมให้คนเราสามารถอาศัยอยู่ได้อย่างประสานกลมกลืนกับระบบธรรมชาติ มนุษย์จึงจะอยู่ได้อย่างยั่งยืนจริง

เศรษฐกิจแบบยั่งยืน หมายถึงเศรษฐกิจชนิดที่จะดำรงอยู่ต่อไปได้จนถึงรุ่นลูกหลาน เน้นการพัฒนาเชิงคุณภาพชีวิต/สังคม

เช่น การพัฒนาการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม การดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ความบันเทิงที่สร้างสรรค์ ฯลฯ ซึ่งสามารถให้ความสุข ความพอใจ และอยู่ได้อย่างคงทนยั่งยืนกว่าเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่เน้นการเติบโตทางปริมาณของสินค้า/บริการ

ความยั่งยืน หมายถึงว่าปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิตว่า ควรจะอยู่ในขอบเขตที่สภาพแวดล้อมมีขีดความสามารถที่จะป้อนวัตถุดิบได้ และสามารถรองรับของเสียจากผลผลิตขั้นสุดท้ายได้

โดยไม่ทำให้ทั้งระบบนิเวศเกิดการขาดความสมดุล และโดยไม่เพิ่มมลพิษหรือเพิ่มในอัตราต่ำที่สุด

ในโลกเศรษฐกิจมีทุนที่สำคัญอยู่ 2 ประเภท คือ ทุนธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ แหล่งน้ำ แร่ธาตุ หลังงาน และทุนที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เครื่องจักร เครื่องทุ่นแรงต่างๆ

เราอาจคิดถึงต้นทุนทางสังคม วัฒนธรรมด้วยก็ได้ แต่ถ้าแยกเป็น 2 ประเภทข้างต้น จะเห็นประเด็นได้ชัดกว่า

ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์แนวทุนนิยมอุตสาหกรรมมองเรื่อง การเพิ่มการจับปลาโดยการสร้างเรือหาปลาให้มากขึ้นหรือทำเรือให้ใหญ่ขึ้น มีประสิทธิภาพในการจับเพิ่มขึ้น

นักเศรษฐศาสตร์ระบบนิเวศ มองว่า การเพิ่มเรือจับปลาไม่มีประโยชน์ ถ้าประชากรปลาในมหาสมุทรเหลือน้อยลงเพราะการจับปลาโดยรวมนั้นมากเกินไป

เราจำเป็นที่จะต้องจับปลาให้น้อยลง เพื่อที่ประชากรปลาที่เหลืออยู่จะสามารถผลิตลูกหลานให้ได้มากและทันพอ ที่ชาวประมงรุ่นต่อไปยังคงมีปลาให้จับไปเป็นอาหารได้

แม้การเพิ่มเลี้ยงปลาเป็นอุตสาหกรรมเป็นเรื่องที่ทำได้ด้วยเช่นกัน แต่ก็มีต้นทุน (ค่าใช้จ่าย) ในการใช้น้ำ อาหาร และการก่อมลภาวะ ในโลกนี้ไม่มีอะไรได้มาฟรีๆ โดยไม่มีต้นทุน (ค่าใช้จ่าย) ทั้งธรรมชาติและสังคม

นโยบายเศรษฐกิจที่จะรักษาระดับทุนทางธรรมชาติให้คงอยู่ในระยะยาวได้ คือการใช้ระบบกำหนดโควตาการใช้วัตถุดิบทางธรรมชาติในปริมาณที่สอดคล้องกับขีดความสามารถของระบบนิเวศที่จะฟื้นฟูธรรมชาติขึ้นได้ใหม่

และสามารถดูดซับมลพิษได้ เช่น ลดการตัดป่าไม้ลง รักษาและเพิ่มป่าไม้ให้มากพอที่จะดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์สร้างขึ้นจำนวนหนึ่งได้ ข่าวเศรษฐศาสตร์แนะนำ>>> นักเศรษฐศาสตร์ มองธนาคาร SVB ล้ม ไทยได้รับเอฟเฟกต์มั้ย?

นักเศรษฐศาสตร์ มองธนาคาร SVB ล้ม ไทยได้รับเอฟเฟกต์มั้ย?

จากสถานการณ์ตลาดการเงินโลกที่ 2 ธนาคารในสหรัฐ อย่าง ธนาคาร Silvergate Capital

ที่ให้บริการ Cryptocurrency และ ธนาคาร Silicon Valley Bank (SVB) ที่ให้บริการปล่อยสินเชื่อธุรกิจ Start up ซึ่งมีขนาดทรัพย์สินรวมกันกว่า 2 แสนล้านดอลลาร์ ปิดกิจการภายในสัปดาห์เดียว ทำคนเกิดความกังวลแห่ถอนเงินจนเกิดภาวะ Bank Run จนต้องขายพันธบัตรทั้งที่ขาดทุนเพื่อนำเงินไปคืนให้กับผู้ที่มาไถ่ถอน จนธนาคารเกิดการขาดทุนมากกว่า 1.8 พันล้านดอลลาร์

เหตุการณ์ปิดกิจการธนาคารทั้ง 2 แห่งนี้ จะเรียกว่าวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่จะกระทบกันเป็นโดมิโนหรือไม่ และไทยได้รับเอฟเฟกต์จากเหตุการณ์ครั้งนี้อย่างไร นายอมรเทพ จาวะลา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสำนักวิจัย และที่ปรึกษาการลงทุน ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย มีมุมมองจาก สถานการณ์ Silicon Valley Bank (SVB) ในสหรัฐฯ ไว้ดังนี้

SVB คือใคร
SVB หรือ​ Silicon Valley Bank เป็นแบงก์ใหญ่เป็นอันดับ​ 16​ ในสหรัฐด้วยสินทรัพย์​ 2.09 แสนล้านดอลลาร์​ โดยมาทำธุรกิจกับกลุ่ม​ Start​ up หรือกลุ่มเทค​ ล่าสุดในวันศุก​ร์ที่​ผ่านมา​ถูกสั่งปิดโดย​ FDIC​ หรือ​ Federal Deposit Insurance Corp. คล้ายๆ​ หน่วยงานคุ้มครองเงินฝาก​ (แต่คุ้มครองเพียง​ 250,000 ดอลลาร์​ ซึ่งมีเพียง​ 3%ของบัญชีในแบงก์นี้​ (อีก​ราว​ 97% มีเงินมากกว่าและยังไม่จ่ายส่วนที่เหลือคืนจนกว่าจะขายทรัพย์สิน​ได้​ ลองนึกภาพธุรกิจ​จะจ่ายคู่ค้าหรือพนักงานยังไง)​

ทำไมล้ม
ปัญหาของแบงก์นี้คือเกิดจากความน่าเชื่อถือ​ เกิด​ bank run หรือคนไม่มั่นใจแห่ถอนเงินจำนวนมาก โดยส่วนใหญ่มาจาก partners ที่เป็น Private Equity, Venture Capital, Tech, Health tech​ แค่วันพฤหัสบ​ดี​วันเดียวมีคนถอนเงินฝากไปราว​ 1ใน​ 4 ของเงินฝากทั้งหมด​ แบงก์ขาดกระแสเงินหมุนเวียน​ เจอปัญหาสภาพคล่องจนลามเป็นปัญหาล้มละลาย​ FDIC​ จึงต้องมาระงับกิจการ​ โอนเงินฝากให้แบงก์​ที่จะจัดตั้งใหม่​ ขอย้ำว่าวิกฤตินี้ไม่เหมือนปี​ 2008​ ตอนเลห์แมนล้ม​ ตอนนั้น​คือปัญหาความเสี่ยงด้านเครดิต​จากการลงทุนในอนุพันธ์​ด้านอสังหา​ ตอนนี้คือความเสี่ยงด้านตลาด​หรือสภาพ​คล่อง​ จากดอกเบี้ยขาขึ้นและขาดการบริหารที่ดีด้านระยะเวลาเงินฝากและสินเชื่อ

ทำไมคนไม่ไว้ใจ
อยู่ๆ​ ราคาหุ้นร่วงลง​ 60% ในวันเดียวจากความกังวลว่าจะเกิดการเพิ่มทุนจำนวนมาก​ เพื่อชดเชยการขาดทุนมหาศาลจากการขายพันธบัตร​รัฐบาลสหรัฐ​ จริงๆ​ ถ้าไม่ขายก็ไม่ขาดทุน​ (แต่ต้องรับรู้ Fair Value ผ่าน Balance sheet) เรียกว่า​ unrealized loss คือราคาพันธบัตรลดลงต่ำว่าหน้าตั๋ว​ เพราะเมื่อดอกเบี้ยขึ้นแรง​ ราคาพันธบัตรที่สวนทางกับดอกเบี้ยที่ขึ้นจะลดลง​ เมื่อ​ SVB​ ต้องการเงินก็จำเป็นต้อง​ขายขาดทุน​ พอขาดทุนก็ต้องการเงิน​ ไปขอเพิ่มทุน​ คนก็กลัวเทขายหุ้น​ คนฝากก็​ panic ตกใจถอนเงิน​ จนเป็นภาวะปิดตัวเช่นนี้​ และอีกประเด็นที่ทำไมขาดเงินก็เพราะธุรกิจเทคในสหรัฐ​ โดยเฉพาะเทคตัวเล็กขาดทุนอยู่มาก​ ยังไม่มีกำไรหรือกระแสเงินสดดี​ พอดอกเบี้ยขึ้นต่อเนื่องยิ่งมีปัญหา​ กระทบแบงก์นี้ไปด้วยที่เน้นธุรกิจ​กลุ่มนี้

จะลามไหม
ในช่วงวันพุธ​ถึงวันพฤหัส​เราเห็นราคาหุ้นกลุ่มธนาคารปรับย่อลงเพราะความกังวลว่าจะมีแบงก์อื่นล้มด้วยไหม​ แต่ปัญหานี้น่าอยู่ในแบงก์ขนาดเล็กที่เน้นกลุ่มเทคหรือ​ start up เป็นหลัก​ ซึ่งต่างกับแบงก์ใหญ่​ ในวันศุก​ร์แล้ว​หุ้นแบงก์ใหญ่ฟื้น​ แต่แบงก์เล็กลงต่อ​ โดยรวมไม่น่าลาม โดยธนาคารที่มีการถือตราสารที่ดี ยังสามารถเข้าถึงสภาพคล่องจากเฟดได้​ แต่อาจมีแบงก์ที่มีปัญหาเพิ่ม​ ในกลุ่มที่ขาดทุนจากอัตราดอกเบี้ย​ที่ขึ้นแรงในสหรัฐ​ จนราคาพันธบัตร​ลดลง​ (จริงๆ​ ถ้าถือจนครบอายุ​สัญญา​จะไม่ขาดทุน)​ ต้องดูว่าใครร้อนเงินอีก​ หรือมีใครโดนแห่ถอนเงินจากวิกฤติ​ศรัทธา​บ้าง (หลักๆ คงจะเป็นธนาคารที่ทำธุรกรรมเกี่ยวบกับกลุ่มเทค ที่ลงทุนใน Crypto ในสัดส่วนที่มีนัยสำคัญ​)

ข่าวอื่นๆ ตลาดไก่ทอดปักธงสยายปีก

ตลาดไก่ทอดปักธงสยายปีก

ตลาดไก่ทอดปักธงสยายปีก

ตลาดไก่ทอดปักธงสยายปีก

ไก่ทอด เมนูยอดฮิตรับประทานง่าย อร่อย ถูกปาก เป็นเมนูที่หลายๆคนคิดถึงได้ตลอดเวลา มูลค่าการตลาดในประเทศไทยหลายหมื่นล้านบาท หากรับประทานได้ง่ายตามสองข้างทางไปจนถึงภัตตาคารหรูหรา

ส่วนหนึ่งมาจากกระแสโปรโมตของแบรนด์ยักษ์ใหญ่ที่กระตุ้นตลาดให้ตื่นตัวตลอดเวลา เอาเรื่องราวของความทันสมัย สื่อดิจิทัล โซเชียลมีเดีย เพื่อให้แบรนด์สามารถเข้าไปนั่งอยู่ในใจกลุ่มคนรุ่นใหม่ และเร้าใจให้เกิด ความถี่ในการซื้อสินค้าดังที่เราทราบกันดี

ถ้าพูดถึงแบรนด์ไก่ทอดยักษ์ใหญ่ในปัจจุบันแน่นอนผู้บริโภคต้องนึกถึง 1.เคเอฟซี (KFC) แบรนด์ระดับโลกจากสหรัฐฯ 2.บอนชอน (Bonchon) แบรนด์จากเกาหลี และ 3.ห้าดาว (Five Star) โดยกลุ่ม ซี.พี.ยักษ์ใหญ่ของไทย

หากจะเปรียบเทียบโมเดลธุรกิจของการขยายสาขาเพื่อครองใจผู้บริโภคคนไทยค่อนข้างจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง โดย KFC ดำเนินธุรกิจผ่าน 3 แฟรนไชส์ใหญ่ เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป (CRG) ในเครือเซ็นทรัล, เรสตอรองตส์ ดีเวลลอปเม้นท์ (RD) และ Food of Asia (FOA) ในเครือไทยเบฟ เพิ่งจะฉลองครบ 1,000 สาขาในประเทศไทยเมื่อสิ้นปีที่ผ่านมา โดยมียอดขายรวมกันมากกว่า 20,000 ล้านบาท

รูปแบบของการธุรกิจของ “เคเอฟซี” ดูเหมือนว่าจะง่ายที่สุดด้วยกลยุทธ์ “มัลติ สโตร์ ฟอร์แมต” รูปแบบของการขยายสาขาจะขึ้นอยู่กับทำเลย่านนั้นๆ เช่น นับตั้งแต่การปรับรูปแบบอาคารพาณิชย์มาปรับเป็นร้านเคเอฟซี, ไดรฟ์ทรู, พาร์ค แอนด์ โก, สาขาในศูนย์การค้าและสาขาแฟล็กชิป

สำหรับ “บอนชอน” ไก่ทอดสไตล์เกาหลี หลังจากกลุ่มไมเนอร์ได้ปิดดีลมูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท เพื่อซื้อบอนชอนในไทยจำนวน 42 สาขา เพื่อเสริมพอร์ตไก่ทอดเข้าในธุรกิจอาหาร จนล่าสุดได้ออกมาเผยตัวเลขขยายสาขาไปกว่า 106 สาขา พร้อมตั้งเป้าไว้ที่ 200 สาขา โมเดล ธุรกิจของบอนชอนจะเน้นบริการนั่งรับประทานในรูปแบบไฟน์ไดนิ่ง

รวมทั้งรูปแบบใหม่ๆที่เริ่มจะออกไปในตลาด ต่างจังหวัดให้ผู้บริโภคกลุ่มใหม่ๆได้ใช้บริการ พร้อมกับเปิดตัวแบรนด์แอมบาสเดอร์คนแรกคือ “ไบร์ท-วชิรวิชญ์ ชีวอารี” เพื่อสื่อสารถึงกลุ่ม “เจนแซด” ที่มีอายุระหว่าง 18-35 ปีมากขึ้น จากเดิมจะเป็นกลุ่มใหญ่ 18-45 ปี

ทางด้าน “ห้าดาว” ซึ่งเป็นแบรนด์ไทยที่มีอายุกว่า 38 ปี หลังจากเปิดตลาด “ไก่ย่าง” เป็นเมนูแรก และปรับเปลี่ยนโมเดลธุรกิจขยายธุรกิจในรูปแบบแฟรนไชส์ สนับสนุนให้คนไทยลงทุนเป็นเจ้าของกิจการ โดยทางบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ สนับสนุนให้ความรู้ การบริหารจุดขาย การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาดเพื่อให้ธุรกิจเติบโต

ตลาดไก่ทอดปักธงสยายปีก

อย่างไรก็ตาม การที่ผู้บริโภคคนไทยนิยมบริโภค “ไก่ทอด” มากกว่า “ไก่ย่าง” จึงทำให้ทางซีพีเอฟได้ปรับเปลี่ยนโมเดลธุรกิจมาเน้นเมนูไก่ทอด

นายสุนทร จักษุกรรฐ์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ธุรกิจห้าดาว บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ กล่าวว่า ทิศทางธุรกิจของห้าดาวในปีนี้จะอัตราเติบโตมากกว่า 15% โดยปีที่ผ่านมาธุรกิจของห้าดาวทำรายได้ที่ 6,500 ล้านบาท เติบโต 10% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย หลังจากธุรกิจกลับมาเปิดตัวเป็นปกติตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ในปีที่ผ่านมา

“ณ สิ้นปีที่ผ่านมา ห้าดาวมีจำนวนสาขาในประเทศไทย 5,100 สาขา เป็นการลงทุนในรูปแบบแฟรนไชส์ 100% ส่วนตลาดต่างประเทศได้ขยายไปแล้ว 9 ประเทศในกลุ่มอาเซียนและเอเชียใต้ โดยตลาดเวียดนาม, ฟิลิปปินส์ และอินเดีย มีศักยภาพการเติบโตสูงมาก ซึ่งจะใช้ไทยเป็นต้นแบบทั้งการพัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑ์ การทดลองขยายสาขารูปแบบต่างๆ การสร้างแบรนด์กับเป้าหมายเพื่อเป็นแบรนด์ระดับภูมิภาคและไปสู่ระดับโลกในอนาคต โดยปีนี้ตั้งเป้าจะขยายสาขาเพิ่มเป็น 9,000 สาขาทั้งในและต่างประเทศ”

ขณะเดียวกัน ธุรกิจร้านอาหารและเครื่องดื่มหลายแบรนด์จะขยายแฟรนไชส์ในตลาดพรีเมียม อาทิ ข้าวมันไก่ไห่หนาน และสตรีทฟู้ดร้านกระทะเหล็กในศูนย์การค้า รวมถึงฟอร์แมตใหม่ที่เปิดควบคู่กันกับร้านกาแฟสตาร์คอฟฟี่

นายสุนทร กล่าวว่า การเป็นผู้นำในธุรกิจแฟรนไชส์อาหารของประเทศจะต้องเน้นกลยุทธ์ประกอบด้วย 1.พัฒนาแฟรนไชส์ให้มีความสามารถในการทำกำไรได้สูง จะทำยังไงให้เถ้าแก่เล็กกลายเป็นเถ้าแก่ใหญ่ 2.ร่วมกับพันธมิตรหาทำเลที่ดี เช่น สถานีบริการน้ำมัน โรงพยาบาล รวมไปถึงโมเดิร์นเทรด 3.ร่วมกับแบรนด์ต่างๆออกสินค้าใหม่ๆ เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคใหม่ๆเพิ่มขึ้น ผลักดันนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆมาทดแทนการขาดแคลนแรงงานซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ในปัจจุบัน 4.การสร้างแบรนด์ ที่ผ่านมาทำภาพยนตร์โฆษณา 2 เรื่อง สื่อสารถึงสมาชิกในครอบครัวมีความคิดไม่เหมือนกันแต่เมื่อคิดถึงอาหารแล้วคิดถึง 5 ดาว ซึ่งประสบความสำเร็จมากมีผู้ติดตามชมถึง 41 ล้านครั้ง

สิ่งสำคัญที่สุดจะต้องทำให้เห็นว่า “ห้าดาว” เป็นส่วนหนึ่งในชุมชน เป็นหนึ่งในใจของคนที่สนใจอยากทำธุรกิจของตัวเอง.

อ่านข่าวเศรษฐศาสตร์ที่น่าสนใจเพิ่มเติมได้ที่นี่ : จะไม่ทำให้แสนยานุภาพทางทหารของปักกิ่งอยู่ในอาการ ‘โซซัดโซเซ’ หรอก

เศรษฐศาสตร์

จะไม่ทำให้แสนยานุภาพทางทหารของปักกิ่งอยู่ในอาการ ‘โซซัดโซเซ’ หรอก

จะไม่ทำให้แสนยานุภาพทางทหารของปักกิ่งอยู่ในอาการ ‘โซซัดโซเซ’ หรอก

เศรษฐศาสตร์

ระบบต่างๆ ทางการทหารของจีนนั้นพึ่งพาอาศัยพวกชิปรุ่นเก่ากว่า และประณีตซับซ้อนน้อยกว่า ซึ่งสามารถผลิตขึ้นในจีนเอง โดยที่มาตรการควบคุมการส่งออกของสหรัฐฯ จะไม่ส่งผลใดๆ

เมื่อเดือนตุลาคม 2022 ที่ผ่านมา คณะบริหารไบเดน ประกาศบังคับใช้มาตรการควบคุมการส่งออกกับประเทศจีน [1] โดยห้ามขายทั้งพวกชิปเซมิคอนดักเตอร์ประเภทล้ำยุค เครื่องจักรอุปกรณ์ระดับก้าวหน้าที่จำเป็นสำหรับการผลิตชิปไฮเทคเหล่านี้ และทักษะความเชี่ยวชาญด้านเซมิคอนดักเตอร์จากสหรัฐฯ

การควบคุมครั้งนี้คือความพยายามอย่างจริงจังที่สุดของคณะบริหารไบเดน ในการบ่อนทำลายกระบวนการปรับปรุงการทหารให้ทันสมัยของจีน และเป็นมาตรการซึ่งสามารถสร้างความเสียหายได้มากที่สุดที่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน นำออกมาใช้เล่นงานจีน

เซมิคอนดักเตอร์ระดับก้าวหน้าล้ำยุคเป็นสิ่งที่อยู่เบื้องลึกลงไปของทุกสิ่งทุกอย่าง [2] ตั้งแต่ยานยนต์ขับเคลื่อนได้ด้วยตนเอง ไปจนถึงระบบอาวุธระดับไฮเปอร์โซนิก (hypersonic มีความเร็วตั้งแต่มัค 5 นั่นคือความเร็วเหนือเสียง 5 เท่า ขึ้นไป -ผู้แปล) ชิปเวลานี้คือสิ่งที่จำเป็นต้องใช้อย่างขาดหายไปไม่ได้สำหรับอุตสาหกรรมด้านกลาโหม ตลอดจนพวกเทคโนโลยีแห่งอนาคตทั้งหลาย [3] ด้วยการเล็งเป้าหมายเล่นงานอินพุตที่สำคัญอย่างยิ่งยวดเช่นนี้ จึงเท่ากับคณะบริหารไบเดนกำลังตั้งจุดมุ่งหมายที่จะแช่แข็งวงการเซมิคอนดักเตอร์ของจีนเอาไว้ให้นิ่งชะงักอยู่ในระดับปี 2022 และขัดขวางการพัฒนาด้านการทหารของแดนมังกร